วันเสาร์ที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2555

โครงสร้างรายวิชา



โครงสร้างรายวิชา
รายวิชา  ส22103 สังคมศึกษา  ศาสนาและวัฒนธรรม 4    กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม                                                                                                                  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2    ภาคเรียนที่  2  หน่วยการเรียนรู้    15   หน่วย   จำนวน  1.5  หน่วยกิต   เวลา   60    ชั่วโมง 

ลำดับที่
ชื่อหน่วยการเรียนรู้
มาตรฐาน
การเรียนรู้ /ตัวชี้วัด
สาระสำคัญ
เวลา
( ชั่วโมง )
น้ำหนักคะแนน

1
พระไตรปิฎก  และพุทธศาสนสุภาษิต

ส 1.1 ม 2/7
ส 1.1 ม 2/8
  โครงสร้าง และสาระสังเขปของ           พระวินัยปิฎก  พระสุตตันตปิฎก             และพระอภิธรรมปิฎก
พุทธศาสนสุภาษิต
- กมฺมุนา วตฺตตี โลโก สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม     
- กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ  ทำดีได้ดี ทำชั่ว   ได้ชั่ว       
- สุโข ปุญฺญสฺส อุจฺจโย     การสั่งสมบุญ
นำสุขมาให้    
- ปูชโก  ลภเต ปูชํ วนฺทโก ปฏิวนฺทนํ 
ผู้บูชาเขา     ย่อมได้รับการบูชาตอบ  ผู้ไหว้เขาย่อมได้รับการไหว้ตอบ    
4
6

2

การบริหารจิตและการเจริญปัญญา

1.1 ม. 2/9
1.1 ม. 2/10
การพัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ 2 วิธี คือวิธีคิดแบบอุบายปลุกเร้าคุณธรรม และวิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์
สวดมนต์แปลและแผ่เมตตา
รู้และเข้าใจวิธีปฏิบัติและประโยชน์ของการบริหารจิตและเจริญปัญญา
ฝึกการบริหารจิตและเจริญปัญญาตามหลักสติปัฎฐานเน้นอานาปานสติ
นำวิธีการบริหารจิตและเจริญปัญญาไปใช้ในชีวิตประจำวัน

5
8

ลำดับที่
ชื่อหน่วยการเรียนรู้
มาตรฐาน
การเรียนรู้ /ตัวชี้วัด
สาระสำคัญ
เวลา
( ชั่วโมง )
น้ำหนักคะแนน

3
หน้าที่ชาวพุทธ และมารยาทชาวพุทธ
ส 1.2 ม.2/1
ส 1.2 ม.2/2
การเป็นลูกที่ดีตามหลักทิศเบื้องต้นในทิศ 6
มรรยาทของศาสนิกชน
การต้อนรับ (ปฏิสันถาร)
มรรยาทของผู้เป็นแขก
ฝึกปฏิบัติระเบียบพิธี ปฏิบัติต่อพระภิกษุ การยืน การให้ที่นั่ง การเดินสวน การสนทนา 
การรับสิ่งของ
การแต่งกายไปวัด การแต่งกายไปงานมงคล งานอวมงคล
4
6

4
วันสำคัญทางพระพุทธ
ศาสนา
 และศาสนพิธี
ส 1.2 ม.2/3










ส 1.2 ม.2/4






การปฏิบัติตนอย่างเหมาะสม
การทำบุญตักบาตร
การถวายภัตตาหารสิ่งของที่ควรถวายและสิ่งของต้องห้ามสำหรับพระภิกษุ
การถวายสังฆทาน เครื่องสังฆทาน
การถวายผ้าอาบน้ำฝน
การจัดเครื่องไทยธรรม เครื่องไทยทาน
การกรวดน้ำ
การทอดกฐิน  การทอดผ้าป่า
หลักธรรมเบื้องต้นที่เกี่ยวเนื่องในวันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอัฎฐมีบูชา วันอาสาฬหบูชา วันธรรมสวนะและเทศกาลสำคัญ
ระเบียบพิธีและการปฏิบัติตนในวันธรรมสวนะ วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา วันเทโวโรหณะ

4
6
ลำดับที่
ชื่อหน่วยการเรียนรู้
มาตรฐาน
การเรียนรู้ /ตัวชี้วัด
สาระสำคัญ
เวลา
( ชั่วโมง )
น้ำหนักคะแนน


ส 1.2 ม.2/5
 ศาสนพิธี  พิธีกรรม แนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆ



5
การปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
ส 1.1 ม.2/11

การปฏิบัติตนตามหลักธรรม
 ( ตามสาระการเรียนรู้ข้อ 8)

3
6
6
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
2.1 ม. 2/2
สถานภาพ  บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
แนวทางส่งเสริมให้ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
4
6
7
กฎหมายกับการดำเนินชีวิตประจำวัน
2.1 ม. 2/1













2.2 ม. 2/1

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเองและครอบครัว
   -  กฎหมายผู้เยาว์
   -  กฎหมายบัตรประจำตัว
      ประชาชน
   -  กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับ
      ครอบครัว
กฎหมายที่เกี่ยวกับชุมชนและประเทศ
      -    กฎหมายรัฐธรรมนูญ
-                   กฎหมายเกี่ยวกับการ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
-                   กฎหมายแรงงาน
-                   กฎหมายปกครอง
กระบวนการตรากฎหมาย
-                   ผู้มีสิทธิเสนอร่างกฎหมาย
-                   ขั้นตอนการตรากฎหมาย
-                   การมีส่วนร่วมของประชาชน


4
6

ลำดับที่
ชื่อหน่วยการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระสำคัญ
เวลา(ชั่วโมง)
น้ำหนักคะแนน

8
เหตุการณ์และการเปลี่ยนแปลงสำคัญของระบอบประชาธิปไตยของไทย

2.2 ม. 2/2
เหตุการณ์และการเปลี่ยนแปลงสำคัญของระบอบการปกครองของไทย
หลักการเลือกข้อมูล  ข่าวสารเพื่อนำมาวิเคราะห์
4
6

9
สถาบันทางสังคม
ส 2.1 ม.2/3
บทบาท ความสำคัญและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคม
 1 สถาบันครอบครัว
2. สถาบันการศึกษา
3. สถาบันศาสนา
4. สถาบันเศรษฐกิจ
5. สถาบันการเมืองการปกครอง
4
6

10
วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชีย
ส. 2.1 ม. 2/4
ความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทย  และวัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชีย  วัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยสำคัญในการสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
4
7

11
การออมและการลงทุน
3.1 ม. 2/1
ความหมายและความสำคัญของการลงทุนและการออมต่อระบบเศรษฐกิจ
การบริหารจัดการออมเงิน  และการลงทุนภาคครัวเรือน
ปัจจัยของการลงทุน และการออมคือ อัตราดอกเบี้ยรวมทั้งปัจจัยอื่นๆ เช่น ค่าของเงิน เทคโนโลยี การคาดเดาเกี่ยวกับอนาคต
ปัญหาของการลงทุนและการออมในสังคมไทย
4
7

12

การผลิตสินค้าและบริการ
3.1 ม. 2/2

ความหมาย ความสำคัญ และหลักการผลิตสินค้า และบริการอย่างมี
ประสิทธิภาพ
4
8

ลำดับที่
ชื่อหน่วยการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระสำคัญ
เวลา(ชั่วโมง)
น้ำหนักคะแนน




สำรวจการผลิตสินค้าในท้องถิ่นว่า มีการผลิตอะไรบ้างใช้วิธีการผลิตอย่างไร  มีปัญหาด้านใดบ้าง
มีการนำเทคโนโลยีอะไรมาใช้ที่มีผลต่อการผลิตสินค้าและบริการ
นำหลักการผลิตมาวิเคราะห์การผลิตสินค้า และบริการในท้องถิ่นทั้งด้านเศรษฐกิจ  สังคม  และสิ่งแวดล้อม



13
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้า และบริการ
ส 3.1  ม. 2/3
หลักการและเป้าหมาย ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สำรวจและวิเคราะห์ปัญหาการผลิตสินค้า และบริการในท้องถิ่น
ประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น

4
7

14
การคุ้มครองผู้บริโภค
3.1 ม. 2/4






การรักษาและคุ้มครองสิทธิประโยชน์ของผู้บริโภค
กฎหมายคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การดำเนินกิจกรรมพิทักษ์สิทธิและประโยชน์ตามกฎหมายผู้บริโภค
แนวทางการปกป้องสิทธิผู้บริโภค
4
7

15
ระบบเศรษฐกิจ   การพึ่งพา   การแข่งขันกันทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย

3.2 ม. 2/1
3.2 ม. 2/2


3.2 ม. 2/3

ระบบเศรษฐกิจแบบต่าง
หลักการและผลกระทบการพึ่งพาอาศัยกันและการแข่งขันกันทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย
การกระจายของทรัพยากรโลกที่ส่งผลต่อความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ
ระหว่างประเทศ เช่น น้ำมัน ป่าไม้ ทองคำ ถ่านหิน แร่
4
8

ลำดับที่
ชื่อหน่วยการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระสำคัญ
เวลา(ชั่วโมง)
น้ำหนักคะแนน



ส 3.2ม. 2/4
การแข่งขันทางการค้าในประเทศ และต่างประเทศ



รวมตลอดภาคเรียน
60
100









วันศุกร์ที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2555

คำอธิบายรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2


คำอธิบายรายวิชา
 รายวิชา  ส22103  สังคมศึกษา  ศาสนาและวัฒนธรรม4      กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม                                                                                                          ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2                                     จำนวน   1.5   หน่วยกิต                             เวลา   60  ชั่วโมง / ภาคเรียน
             
            ศึกษา วิเคราะห์ ปฏิบัติ โครงสร้าง และสาระสังเขปของพระวินัยปิฎก  พระสุตตันตปิฎก และพระอภิธรรม-ปิฎก  พุทธศาสนสุภาษิต  พัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ   สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา           การบริหารจิตและเจริญปัญญาตามหลักสติปัฎฐานเน้นอานาปานสติ   การปฏิบัติตนตามหลักธรรม  การเป็นลูกที่ดี ตามหลักทิศเบื้องหน้าในทิศ ๖  มรรยาทชาวพุทธ   ปฏิบัติต่อพระภิกษุ   การทำบุญตักบาตร  การถวายภัตตาหาร   การถวายสังฆทาน   การถวายผ้าอาบน้ำฝน  การกรวดน้ำ  การทอดกฐิน การทอดผ้าป่า  หลักธรรมเบื้องต้นที่          เกี่ยวเนื่องในวันมาฆบูชา  วันวิสาขบูชา  วันอัฏฐมีบูชา   วันอาสาฬหบูชา วันธรรมสวนะและเทศกาลสำคัญ      ศาสนพิธี/พิธีกรรม แนวปฏิบัติของศาสนาอื่น ๆ   สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ในฐานะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย   กระบวนการในการตรากฎหมาย   เหตุการณ์ และการเปลี่ยนแปลงสำคัญของระบอบ             การปกครองของไทย  หลักการเลือกข้อมูล ข่าวสาร   กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชนและประเทศ   ความสำคัญและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคม   ความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชียวัฒนธรรมเป็นปัจจัยสำคัญในการสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างกัน    ความสำคัญของการลงทุนและการออมต่อระบบเศรษฐกิจ  การบริหารจัดการเงินออมและการลงทุนภาคครัวเรือน    ปัจจัยของการลงทุนและการออม   ปัญหาของการลงทุนและ การออมในสังคมไทย   หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ   หลักการและเป้าหมายปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง   ประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น    การรักษาและคุ้มครองสิทธิประโยชน์ของผู้บริโภค     ระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ   หลักการและผลกระทบการพึ่งพาอาศัยกัน และการแข่งขันกันทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย   การแข่งขันทางการค้าในประเทศและต่างประเทศ
            โดยใช้กระบวนการคิด  กระบวนการสืบค้นข้อมูล  กระบวนการทางสังคม  กระบวนการปฏิบัติ  กระบวนการกลุ่ม  กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา
                เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ  มีคุณธรรม  จริยธรรม สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิต  นำไปพัฒนาแก้ปัญหาของตนเองและครอบครัว  รักษาสิ่งแวดล้อม  มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ  ศาสน์  กษัตริย์  ซื่อสัตย์  สุจริต  มีวินัย  ใฝ่เรียนรู้  อยู่อย่างพอเพียง  มุ่งมั่นในการทำงาน  รักความเป็นไทย    มีจิตสาธารณะ  สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขในสังคมไทยและสังคมโลก

ตัวชี้วัด
ส.1.1 2/7 ,  2/8 2/9 ,  2/10 , 2/11     ส.1.2  2/1 ,  2/2 ,  2/3  2/4 ,  2/5
ส.2.1  2/1 , 2/2 , 2/3 , 2/4                     ส.2.2  2/1 , 2/2
ส.3.1  2/1 , 2/2 ,  2/3 ,  2/4                   ส.3.2  2/1 ,  2/2 ,   2/32/4           
                                                                                                                               รวม  24  ตัวชี้วัด